บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
วันจัทร์ ที่ 8 เดือนกันยายน 2557

กลุ่มเรียน 102 วันจัทร์ บ่าย 



เวลา 14 : 10 - 16 : 40 น.



ประเภทของความต้องการพิเศษมีความหลากหลายและอาจแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง

โดยผู้ที่เป็นโรคออทิซึม (Autism) กลุ่มอาการดาวน์ (Down syndrome) ความบกพร่องในการอ่าน (Dyslexia) ความบกพร่องทางการมองเห็น (Blindness) โรคสมาธิสั้น (ADHD) โรคซีสติกไฟโบรซิส (Cystic Fibrosis) เหล่านี้ ล้วนได้รับการพิจารณาว่ามีความต้องการพิเศษ อย่างไรก็ตาม ลักษณะของความต้องการพิเศษก็อาจครอบคลุมถึงโรคปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lips and cleft palate) ปานแดงแต่กำเนิด (Port wine birthmarks) และแขนหรือขาด้วน (missing limbs)

สิ่งที่พัฒนา 



ประเภทของเด็กพิเศษ




โดยผู้ที่เป็นโรคออทิซึม (Autism) กลุ่มอาการดาวน์ (Down syndrome) ความบกพร่องในการอ่าน (Dyslexia) ความบกพร่องทางการมองเห็น (Blindness) โรคสมาธิสั้น (ADHD) โรคซีสติกไฟโบรซิส (Cystic Fibrosis) เหล่านี้ ล้วนได้รับการพิจารณาว่ามีความต้องการพิเศษ อย่างไรก็ตาม ลักษณะของความต้องการพิเศษก็อาจครอบคลุมถึงโรคปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft lips and cleft palate) ปานแดงแต่กำเนิด (Port wine birthmarks) และแขนหรือขาด้วน (missing limbs)






คือการกลับมาทบทวนเนื้อหาที่เรียนให้บ่อยๆ และหาเพิ่มเติมให้เข้าใจเนื้อหา
การเรียนที่นอกจากได้ในห้องเรียนแล้ว



การประเมิน 











ครู : น่ารักคะอัดแน่นไปหมด เตรียมตัวมาสอนเป็นอย่างดี พร้อมยกตัวอย่างเด็กที่ได้ออกไปเจอมาจากข้างนอกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนมากขึ้น



เพื่อน : เพื่อนทุกคนน่ารักมากมีความเป็นตัวของตัวเองสูง
ต่างคนต่างปรึกษาซึ่งกลุ่มเพื่่อนใครเพื่อนมัน การแต่งตัวนั้นก็เรียบร้อยเพราะวิชาก่อนหน้านั้นครูเขาเนียบ






ตนเอง : เป็นเด็กดีคะ ตั้งใจเรียนมากคะ
แต่พอช่วงหลังยากจะหลับมากกว่าเพราะพื้นที่สมองมันน้อยไปรับอะไรที่ละเยอะๆ ไม่ได้ แล้วยิ่งต้องมานั่งฟังยาวแบบนี้เลยง่วงมาก 





ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น